คัดลอกลายมาจากรูปภาพที่อื่นนะครับ ไม่ทราบชื่อผู้ออกแบบ แต่ขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ครับ เพื่อการศึกษาของเด็กไทย
บล็อกนี้ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเผยแพร่ความรู้ บทความต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เพื่อประโยชน์ของเพื่อครูและผู้ร่วมวงการวิชาชีพทุกท่าน เนื้อหาในบทความเกิดจากการสรุปความคิดรวบยอดของผู้เขียน อาจสอดแทรกแนวความคิดความรู้สึก การวิพากษ์และการวิจารย์ โปรดใช้วิจารณญาณในรับข้อมูลด้วยนะครับ
วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
คำสั่ง คสช.ที่ 79/2557 แต่งตั้ง นายกมล รอดคล้าย เป็นเลขาธิการ กพฐ. แทน นายอภิชาติ จีระวุฒิ
คำสั่ง คสช. 79/2557
ให้นายปรีชา กันธิยะ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็น ที่ปรึกษาสำนักนายกฯ
นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัดกระทรวงพลังงาน เป็น ที่ปรึกษาประจำสำนักนายกฯ
นายทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการการอุดมศึกษา เป็น ที่ปรึกษาประจำสำนักนายกฯ
นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เป็น ที่ปรึกษาประจำสำนักนายกฯ
นายอภินันท์ โปษยานนท์ รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็น ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป็น ปลัดกระทรวงพลังงาน
นายกำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นายกมล รอดคล้าย รองเลขาธิการ กพฐ. เป็น เลขาธิการ กพฐ.
เมื่อมีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้นำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งตามคำสั่งนี้เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ทั้งนี้ให้ข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งดังกล่าวข้างต้น ปฏิบัติหน้าที่ตามตำแหน่งนับแต่วันที่มีคำสั่งนี้
ประกาศ ณ วันที่ 27 มิถุนายน 2557
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การพัฒนาการอ่านเพื่อการเรียนรู้ แนว PISA"
ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การพัฒนาการอ่านเพื่อการเรียนรู้ แนว PISA"
กลุ่มบูรพาพัฒน์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2
วันที่ 4 กรกฎาคม 2557
ณ โรงเรียนรวมราษฎร์สามัคคี จังหวัดปทุมธานี
สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.alro.go.th/alro/alro_prov/template/pubnews_2.jsp?provCode=28&publicNo=2&publicType=13
แนวคำถามข้อสอบ : PISA ช่วงชั้นที่ 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 –
3 ชื่อบทความ “น้ำหมักชีวภาพ”
รูปแบบข้อสอบ
|
คำถาม
|
สมรรถนะการอ่าน
|
ชนิดของบทความ
|
สถานการณ์
|
ตอบแบบเปิด
|
คำถามที่
1 จากบทความน้ำหมักชีวภาพ ผลิตมาด้วยเหตุผลใด
|
การเข้าถึงและค้นสาระ
|
การบอกเล่า อธิบาย เหตุผลชี้แจง
|
เพื่อสาธารณะ
|
ตอบจากตัวเลือก
|
คำถามที่
2 น้ำหมักชีวภาพสามารถใช้ไล่แมลงศัตรูพืชได้นั้น
ต้องใช้ระยะเวลาหมักประมาณกี่วัน
1.
120 วัน
2. 150 วัน
3.
180 วัน
4.
200 วัน
|
การบูรณาการและตีความ
|
”
|
”
|
ตอบจากตัวเลือก
|
คำถามที่
3 ข้อใดกล่าวผิด
1.
น้ำหมักชีวภาพ มีธาตุอาหารอยู่มากมาย เหมาะแก่การเกษตร
2.
น้ำหมักจากผลไม้ในระยะเริ่มแรกจะเป็นแอลกอฮลล์
3. น้ำหมักชีวภาพไม่สามารถนำมาใช้ดื่มหรือกินได้
4.
น้ำหมักชีวภาพกับเอ็นไซม์เป็นสิ่งเดียวกัน
|
การเข้าถึงและค้นคืนสาระ
|
”
|
”
|
ตอบจากตัวเลือก
|
คำถามที่
4 หน่วยงานใดเป็นผู้รับรองคุณภาพของน้ำหมักชีวภาพ
1.
มอก.
2. อย.
3.
ISO
4.
ถูกทุกข้อ
|
การบูรณาการและตีความ
|
”
|
”
|
รูปแบบข้อสอบ
|
คำถาม
|
สมรรถนะการอ่าน
|
ชนิดของบทความ
|
สถานการณ์
|
ตอบแบบเปิด
|
คำถามที่
5 จากข้อความ “ถ้าหากจะนำ น้ำหมักชีวภาพมาใช้ในครัวเรือนหรือการเกษตร
ลองทำง่ายๆ ด้วยตัวเอง ก็จะปลอดภัยและประหยัดที่สุด”
นักเรียนจงทำเครื่องหมายวงกลมล้อมรอบข้อความข้างล่างต่อไปนี้
พร้อมทั้งแสดงเหตุผลโดยอธิบายที่สอดคล้องกับความคิดของนักเรียน จำนวน 2 ข้อ
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย
1. …………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………
* แนวคำตอบ
- เห็นด้วย
1.) เพราะวัตถุดิบที่เลือกใช้จะมีความสะอาด ปลอดภัย
2.)
เพราะช่วยลดค่าใช้จ่ายจากสารเคมีที่นำมาใช้ใน
การเกษตรได้
-ไม่ เห็นด้วย 1.) เพราะขาดทักษะความรู้ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
2.) เพราะไม่สามารถหาวัตถุดิบมาใช้ในการหมักได้
|
การสะท้อนและประเมิน
|
การบอกเล่า อธิบาย เหตุผลชี้แจง
|
เพื่อสาธารณะ
|
ตารางการจำแนกกลยุทธ์การอ่าน ตามแนว PISA
บทความ “น้ำหมักชีวภาพ”
คำถามข้อที่
|
กลยุทธ์การอ่าน
|
||
การเข้าถึงและค้นคืน
|
การบูรณาการและตีความ
|
การสะท้อนและประเมิน
|
|
1.
|
/
|
||
2.
|
/
|
||
3.
|
/
|
||
4.
|
/
|
||
5.
|
/
|
||
รวม
|
2
|
2
|
1
|
เรียบเรียงโดย ครูธงไชย สันติถาวรยิ่ง
ตำแหน่ง ครู สพฐ. ศธ.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)